ข่าวสาร

ความแตกต่าง ระหว่าง Pulse Survey กับ Employee Engagement

ความแตกต่าง ระหว่าง Pulse Survey กับ Employee Engagement

ความแตกต่าง ระหว่าง Pulse Survey กับ Employee Engagement ประจำปี เป็นอย่างไร เราจะมาสรุปให้ดูกันแบบย่อ ๆ ให้เข้าใจกันง่ายขึ้น

ความถี่

Employee Engagement นั้น จะเป็นแบบรายปี มักจะทำกันปีละครั้งเท่านั้น

Pulse Survey นั้น สามารถส่งให้พนักงานทำได้อย่างสม่ำเสมอ ไม่มีกฎตายตัว  อาจจะเป็นรายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน หรือ รายไตรมาส ขึ้นอยู่กับว่า ทางบริษัทต้องการเห็นผลของการสำรวจบ่อยแค่ไหน

ความเฉพาะเจาะจง

Employee Engagement หัวข้อต่าง ๆ การครอบคลุมจะเป็นแบบกว้าง ๆ และหลากหลายมากกว่า

Pulse Survey  มักจะเน้นถามทีละหัวข้อ หรือ เป็นชุดหัวข้อที่มีความเกี่ยวข้องกันมากกว่า

ความยาวในการทำแบบสำรวจ

Employee Engagement  อาจจะต้องใช้เวลามากกว่า 10 นาที เพราะว่า มีคำถามหลากหลายหัวข้อ ทำให้ต้องใช้เวลาในการทำมาก

Pulse Survey จะสั้นกว่ามาก เพราะคำถามมีเพียงแค่ 1-15 ข้อเท่านั้น เพราะมีความถี่ที่จัดส่งไปยังพนักงานมากกว่า จำนวนคำถาม จึงลดน้อยลงไปด้วย

เราก็ได้เห็นความแตกต่างของ Pulse Survey กับ Employee Engagement ประจำปี กันแล้วนะคะ ครั้งถัดไป เราก็จะยังมีเรื่องราวของ Pulse Survey มาให้เพื่อน ๆ ได้รู้จักเพิ่มขึ้นอีก ติดตามกันต่อนะคะ

🎯สนใจบริการติดต่อเรา :

📱Tel : 06-5387-5499

💬 Line : @Surveymarkett   👉  https://lin.ee/1WIknkQ

✉️ Email : surveymarketthailand@gmail.com

🌐 Website : https://surveymarketthailand.co.th

คิดถึงงานวิจัย คิดถึง Survey Market Thailand

Share this post

Tag : #SurveyMarketThailand #Survey #Data #DataCollect #DataCollection #PrimaryResearch #FieldSurvey #เก็บแบบสอบถาม #รับจ้างเก็บแบบสอบถาม #วิจัยตลาด #รับทำแบบสัมภาษณ์ (In-deep Interview) #ทำFocus Group ระดับป.โทและดุษฎีนิพนธ์ #รับเก็บแบบสอบถาม (Questionaire) #หน่วยงานรัฐ #เอกชน #นักศึกษา #รับสำรวจตลาด #วิจัยตลาด #สอบถามข้อมูลร้านค้าหรือการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค #รับจัดEvent #แผนการตลาด #แผนธุรกิจ #กรุงเทพ #ต่างจังหวัด #รับคีย์ข้อมูล ทั้งในหน่วยงานรัฐและเอกชน #ห้างร้านต่างๆ #เก็บข้อมูลทางสถิติ ทางบัญชี #จัดทำระบบข้อมูลอย่างสมบูรณ์ #รับวิเคราะห์ #รับประมวลผล #ทางสถิติ ที่เป็นทั้ง #สถิติพื้นฐาน #หาค่าเฉลี่ย (mean) #หาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) #หาค่าเฉลี่ยสูงสุดต่ำสุด (Min-Max Variable) #รับทดสอบสมมติฐานทางสถิติ เช่น T-Test, Anova Correlation Regresstion หรืออื่นๆ #รับทดสอบความเชื่อมั่นและความเที่ยงตรงของแบบสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ เช่น #หาค่าความเที่ยงตรง (Validity) #ความเชื่อมั่น (Reliability) #ความยากง่าย (Difficulty) #อำนาจจำแนก (Discrimination) #ความเป็นปรนัย (Objectivity) #รับทำหรือใช้โปรแกรมทางสถิติอันได้แก่ โปรแกรม #รับทำ SPSS SAS Eview MINI-tab M-stat Endnote SAS Statt View Graph Prism ,โปรแกรม R, LISREL, Mathcad, MedCalc, MINITAB, MS-EXCEL, STATA, S-PLUS และอื่นๆ #รับทำ presentation  #รับทำ Powerpoint #SurveyMarketThailand #Survey #Data #DataCollect