ข่าวสาร

การทำ Data Validation ขั้นพื้นฐาน - เทพเอ็กเซล

การทำ Data Validation ขั้นพื้นฐาน – เทพเอ็กเซล

โปรแกรม Microsoft Excel เป็นโปรแกรมที่ใช้กันแพร่หลายในหลาย ๆ ส่วนงาน ไม่ว่าจะเป็นงานวิเคราะห์ข้อมูล, งานทางด้านการเงิน , งานทางด้านบุคคล, งานทางด้านจัดซื้อ หรือ งานด้านสต็อกสินค้า เป็นต้น ซึ่งผู้ใช้งาน Excel ต้องเคยแชร์ไฟล์งานร่วมกันหลาย ๆ คน และแน่นอนเมื่อมีหลายคน ก็จะต้องมีหลายวิธีการกรอกข้อมูลใน Excel ไฟล์ที่แตกต่างกัน ตัวอย่างมีการทำแบบฟอร์มคำนวณผลด้วยไฟล์ Excel ที่มีช่องให้ผู้ใช้กรอกข้อมูล ซึ่งผู้ใช้อาจจะกรอกข้อมูลไม่ถูกต้องกับแบบฟอร์มนั้น เช่น กรอกข้อมูลผิดประเภท หรือผิดรูปแบบ (ต้องเป็นเลขจำนวนเต็มเท่านั้น) เป็นต้น ซึ่งส่งผลให้สูตรการคำนวณที่ทำเตรียมไว้ผิดพลาด จะดีกว่าหรือไม่หากเราสามารถกำหนดเงื่อนไขการกรอกในช่อง Cell ต่างๆ ได้ เพื่อลดความผิดพลาดที่เกิดขึ้นได้ เช่น ช่องนี้กรอกได้เฉพาะตัวเลขที่เป็นบวก ช่องนี้ต้องเป็นวันที่ เป็นต้น โดยความสามารถนี้ของ Excel เราเรียกว่า Data Validation

Data Validation คือ ความสามารถในการกำหนด ว่าช่อง Cell นั้น สามารถระบุข้อมูลหรือค่าอะไรได้บ้าง และที่เจ๋งสุด ๆ คือ สามารถกำหนดข้อมูลที่ระบุใน Cell เป็นแบบ dropdown list ได้

ขั้นตอนการทำ Data Validation

รายละเอียดการทำ Data Validation (ตามตัวอย่างในคลิป เป็นข้อมูลเงินเดือน และโบนัสพนักงาน)

1 เลือก Cell หรือช่วง Cell ที่ต้องการกำหนดเงื่อนไขในการระบุค่า ในตัวอย่างคือเลือกข้อมูลคอลัมน์ Salary

2 ไปที่แถบ Data เลือก Data Validation

3 ที่หน้าต่าง Data Validation ในแถบ Settings ในส่วน Allows คือการอนุญาตค่าที่ให้ระบุลงใน Cell จากเดิมที่เป็น Any value สามารถปรับค่าที่ให้ระบุว่าเป็นอะไร ซึ่งจะมีให้เลือก

  • Any Value หมายถึง ใส่ค่าอะไรก็ได้
  • Whole number หมายถึง ระบุค่าที่เป็นเลขจำนวนเต็มเท่านั้น
  • Decimal หมายถึง ระบุค่าที่เป็นเลขทศนิยมเท่านั้น
  • List หมายถึง ระบุค่าตามรายที่กำหนดเท่านั้น ซึ่งทำเป็น dropdown list ได้
  • Date หมายถึง ระบุค่าที่เป็นวันที่เท่านั้น
  • Time หมายถึง ระบุค่าที่เป็นเวลาเท่านั้น
  • Text Length หมายถึง จำกัดความยาวของข้อความที่ระบุใน Cell หรือจำกัดอักษรหรือจำนวนตัวเลขที่ใส่ไปใน Cell โดยตามตัวอย่างเลือก Decimal และเลือกในส่วน Data เป็น greater than และระบุ Minimum เป็น 0

4 คลิก OK

ผลลัพธ์ที่ได้จากการทำ Data Validation ทำให้ข้อมูลคอลัมน์ Salary ไม่สามารถกรอกตัวเลขที่ติดลบ หรือศูนย์ หรือตัวอักษรได้

ที่มา : https://shorturl.asia/FS7GO

Share this post

Tag : #SurveyMarketThailand #Survey #Data #DataCollect #DataCollection #PrimaryResearch #FieldSurvey #เก็บแบบสอบถาม #รับจ้างเก็บแบบสอบถาม #วิจัยตลาด #รับทำแบบสัมภาษณ์ (In-deep Interview) #ทำFocus Group ระดับป.โทและดุษฎีนิพนธ์ #รับเก็บแบบสอบถาม (Questionaire) #หน่วยงานรัฐ #เอกชน #นักศึกษา #รับสำรวจตลาด #วิจัยตลาด #สอบถามข้อมูลร้านค้าหรือการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค #รับจัดEvent #แผนการตลาด #แผนธุรกิจ #กรุงเทพ #ต่างจังหวัด #รับคีย์ข้อมูล ทั้งในหน่วยงานรัฐและเอกชน #ห้างร้านต่างๆ #เก็บข้อมูลทางสถิติ ทางบัญชี #จัดทำระบบข้อมูลอย่างสมบูรณ์ #รับวิเคราะห์ #รับประมวลผล #ทางสถิติ ที่เป็นทั้ง #สถิติพื้นฐาน #หาค่าเฉลี่ย (mean) #หาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) #หาค่าเฉลี่ยสูงสุดต่ำสุด (Min-Max Variable) #รับทดสอบสมมติฐานทางสถิติ เช่น T-Test, Anova Correlation Regresstion หรืออื่นๆ #รับทดสอบความเชื่อมั่นและความเที่ยงตรงของแบบสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ เช่น #หาค่าความเที่ยงตรง (Validity) #ความเชื่อมั่น (Reliability) #ความยากง่าย (Difficulty) #อำนาจจำแนก (Discrimination) #ความเป็นปรนัย (Objectivity) #รับทำหรือใช้โปรแกรมทางสถิติอันได้แก่ โปรแกรม #รับทำ SPSS SAS Eview MINI-tab M-stat Endnote SAS Statt View Graph Prism ,โปรแกรม R, LISREL, Mathcad, MedCalc, MINITAB, MS-EXCEL, STATA, S-PLUS และอื่นๆ #รับทำ presentation  #รับทำ Powerpoint #SurveyMarketThailand #Survey #Data #DataCollect